วันพุธที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

รายงานการประชุมองค์กรแพทย์พบผู้บริหาร


รายงานการประชุม องค์กรแพทย์ พบ ผู้บริหาร
เมื่อ วันจันทร์ ที่ 27 .. 53  เวลา  14.00-17.00 .

1. สมาชิกองค์กรแพทย์ ประกอบด้วย แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร ทุกท่านที่มาปฏิบัติงาน ใน รพ.รร.จปร.

2. แพทย์ ประกอบด้วย แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว แพทย์เฉพาะทางสาขาหลัก 4 สาขา (คือ ศัลยแพทย์ กุมาร                    
แพทย์ อายุรแพทย์ และสูตินรีแพทย์) แพทย์เฉพาะทางสาขาพิเศษที่เหมาะสมกับบริบทของ รพ. คือ ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ รังสีแพทย์ และแพทย์เวรที่มาปฏิบัติงาน ใน รพ.รร.จปร.

3. แพทย์เพิ่มพูนทักษะและแพทย์เวรที่ปฏิบัติงานใน รพ.รร.จปร. ต้องได้รับการปฐมนิเทศ เบื้องต้นให้เป็นมาตรฐานเดียวกันเหมาะสมกับบริบทของ รพ. ตามมาตรฐานวิชาชีพของแพทยสภา

4. สมาชิกขององค์กรแพทย์ ทุกคนต้องได้รับการประชุมวิชาการประจำปีในสาขาหลักของตนเอง ตาม รพ.วิทยาลัย หรือ วิทยาลัยในแต่ละสาขา

5. สมาชิกขององค์กรแพทย์ ได้รับส่งเสริมเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ในการประชุมวิชาการหรือการประชุมเชิงปฏิบัติการตามที่องค์กรแพทย์หรือคณะกรรมการHRD เห็นสมควร

6. มีแผนตรวจสอบการสั่งรักษาของ สมาชิกองค์กรแพทย์ในทุกสัปดาห์จากการสุ่มตรวจสอบเวชระเบียน ของผู้ป่วย (PEER REVIEW) ทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน

7. กำหนดแผนการประชุมวิชาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ขององค์กรแพทย์ (KM) ทุกเดือนโดยสมาชิกขององค์กรแพทย์หมุนเวียนกันทุกเดือน กำหนด วันพุธที่ 1 ของเดือน เวลา 14.00-15.00 .


ศัลยกรรม    
พฤศจิกายน
กุมารเวชกรรม   
ธันวาคม
อายุรกรรม    
มกราคม
สูตินรีเวชกรรม    
กุมภาพันธ์
ศัลยกรรมกระดูกและข้อ    
มีนาคม
รังสีกรรม
เมษายน
ฝังเข็ม       
พฤษภาคม
ทันตกรรม       
มิถุนายน
เภสัชกรรม      
กรกฎาคม
อายุรกรรมโรคไต     
สิงหาคม
เวชศาสคร์ครอบครัว      
กันยายน
เวชศาสตร์ฉุกเฉิน
ตุลาคม


8.กำหนดแผนการให้ความรู้ทางวิชาการทางเภสัชวิทยา ในการนำเสนอยาใหม่เข้าบัญชียาของ รพ หรือการนำเสนอข้อมูลผลการวิจัยใหม่ของยาเดิมในบัญชีของรพ โดยผู้แทนจากบริษัทยาหลายบริษัท กำหนดวันพุธของเดือน เวลา 12.00-13.00 . เดือนละ 2-4 ครั้ง


9.ทันตแพทย์ ทุกท่าน มีมาตรฐานวิชาชีพตามเกณฑ์ของทันตแพทย์สภา และมีการพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ ปัญหาที่พบและหนทางแก้ไขปัญหา กำหนดทุกวันศุกร์ก่อนเที่ยง


10. เภสัชกรทุกท่าน มีมาตรฐานวิชาชีพ ตามเกณฑ์ของ สภาเภสัช และมีการพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ ปัญหาที่พบ และหนทางแก้ไขปัญหา กำหนดทุกวันช่วงเย็นก่อนเช็คคลังยาประจำวัน
ประชุมทุกวันพุธที่ 4 ของเดือน




               















คำสั่งโรงพยาบาลโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
ที่            ๔๘๑     /  ๒๕๕๓
เรื่อง   แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
.................................................................................................................................................

                                เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล  รพ.รร.จปร.  เป็นไปอย่างต่อเนื่อง   มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

จึงให้ยกเลิกคำสั่ง รพ.รร.จปร. ที่ ๒๐ / ๒๕๕๓  ลงวันที่ ๒๒ ม.ค.๕๓    และแต่งตั้งคณะกรรมการทีมนำพัฒนาคุณภาพ รพ.รร.จปร.  ดังนี้
                ๑.คณะกรรมการทีมบริหาร รพ.รร.จปร. (Hospital Lead Team)
                                .  ..ธนา                                        สุรารักษ์                                                 ประธาน                                                                .๒ พ..ณัฐนนท์                        ภุคุกะ                                                     รองประธาน                                                         .๓ พ..ภคเดชน์                                มหัจฉริยวงค์                                         กรรมการฯ
                                ๑.๔ พ.อ.ยรรยงค์                 อิ่มสุวรรณ                                             กรรมการฯ
๑.๕ พ.อ.อุดมพงศ์                               อติเวทิน                                                 กรรมการฯ
๑.๖ พ.ท.หญิงกนกพร                        ศรีพิทักษ์                                               เลขาฯ
หน้าที่
                                ๑. กำหนดนโยบาย วางแผนยุทธศาสตร์ระดับ รพ.
                                ๒. แบ่งมอบความรับผิดชอบ และแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพทุกระดับ 
๓. ติดตามความก้าวหน้า วิเคราะห์ และประเมินผล
๔. สนับสนุน สร้างขวัญกำลังใจ ให้กำลังพลมีส่วนร่วมดำเนินการพัฒนาคุณภาพอย่าง
ต่อเนื่อง

. คณะกรรมการทีมนำเฉพาะด้าน  ( ทีมคร่อมสายงาน )
                                .๑ คณะกรรมการทีมนำด้านคลีนิก  (PCT)
.. พ.ต.หญิงลลิศา                       อังสิริกุล                                หัวหน้า
                                                ..๒ พ.ต.สุทธิพันธ์                        ขอสุข                                     รองหัวหน้า
                                                ..๓ พ.อ.ธนา                                   สุรารักษ์                                 กรรมการฯ                                                                            ..๔ พ.อ.ณัฐนนท์                           ภุคุกะ                                     กรรมการฯ
                                                ..๕ พ.อ.ภคเดชน์                           มหัจฉริยวงค์                         กรรมการฯ
                                                ..๖ พ.อ.ยรรยงค์                             อิ่มสุวรรณ                             กรรมการฯ
๒.๑.๗ ร.ต.หญิงนภา                          สถิตศาสตร์                    กรรมการฯ
๒.๑.๘   พ.ต.หญิงกรกมล                  สีขาว                              กรรมการฯ
๒.๑.๙    ร.ต.หญิงช่อทิพย์  เลิศธำรงศักดิ์                  กรรมการฯ
                                                ๒.๑.๑๐ พ.ต.หญิงเสาวภา                  กระจ่างเมฆ                          เลขาฯ
                                                ๒.๑.๑๑ ร.อ.หญิงวิกานดา  ทองงาม                                 ผช.เลขาฯ ๑
                                                ๒.๑.๑๒ ร.ต.หญิงกนกพร เทศนา                                    ผช.เลขาฯ ๒        
หน้าที่
๑. ดำเนินกิจกรรมพัฒนาและเชื่อมโยงงานด้านบริการุขภาพอย่างครอบคลุม(รักษา  ฟื้นฟู 
สร้างเสริม และป้องกัน) แบบองค์รวม (กาย ใจ สังคม และจิตวิญญาณ)ทั้งหน่วยงาน 
และระดับ รพ.โดยทีมสหวิชาชีพ
๒.วางแผน ป้องกัน และบริหารจัดการ ความเสี่ยงด้านคลินิก
๓. บริหารจัดการ และควบคุมคุณภาพบริการทางคลินิค
๔. ติดตาม และรายงานความก้าวหน้าในการพัฒนาคุณภาพบริการทางคลินิค
๕.สรุปผลลัพธ์ และนำเสนอผลงานคุณภาพด้านคลินิค

.๒ คณะกรรมการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล  (HRD)
                                .. ..ธนา                 สุรารักษ์                                 หัวหน้า
                                ..๒ พ.ท.หญิงกนกพร ศรีพิทักษ์                               กรรมการ
                                ..๓ พ.ต.หญิงฉวีวรรณ                แน่นอน                                 กรรมการ
                                ..๔ พ.ท.พรมทอง                         บุญจันทร์                              เลขาฯ
                                ๒.๒.๕ จ.ส.อ.หญิงกัลยรัตน์             จันทราสินธุ์                          ผช.เลขาฯ
หน้าที่
๑.วางแผนด้านพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพและเกิดประสิทธิภาพ สอดคล้องกับพันธกิจ
แผนยุทธศาสตร์ โครงสร้างองค์กร และทรัพยากรของโรงพยาบาล
                                                ๒.กำกับดูแลองค์กรวิชาชีพให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ
                                                ๓.ส่งเสริมและดำเนินการให้มีการเพิ่มพูนความรู้ และทักษะของบุคลากร
                                                ๔.สรรหา และคัดเลือกเพื่อให้ได้เจ้าหน้าที่ที่มีคุณสมบัติตามที่กำหนด
                                                ๕.ประเมินและส่งเสริมให้มีความผูกพันของบุคลากรในองค์กร
                                                ๖.ประเมิน และดูแลสุขภาพบุคลากรในองค์กร
๗.สรุปผลลัพธ์และนำเสนอผลงานคุณภาพด้านการบริหารและพัฒนาทรัพยากร
บุคคล




๒.๓ คณะกรรมการ สิ่งแวดล้อม อาคารสถานที่ความปลอดภัยและสิ่งอุปกรณ์  ( ENV)
                                ๒.๓.  พ.อ.อุดมพงศ์                         อติเวทิน                                 หัวหน้า
                                ๒.๓.  พ.ท.พรชัย                             มาลัยพวง                              กรรมการฯ
                                ๒.๓.๓  ..วิชัย                                  อินศิริ                                     กรรมการฯ
                                ๒.๓.๔  ร.อ.หญิงสุรดา                      รัตนวิเศษ                              กรรมการฯ           
๒.๓.  พ.ท.สุพจน์                            แหไธสงค์                             เลขาฯ
                                ๒.๓.  ร.ท.กิตติชัย                             ศรียงยศ                                 ผช.เลขาฯ
                                หน้าที่
                ๑.วางแผนและดำเนินการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม  และความปลอดภัย
๒.บริหารจัดการเครื่องมือ อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบสาธารณูปโภคที่จำเป็น ให้ได้มาตรฐาน และเพียงพอ เพื่อให้บริการผู้ป่วยได้อย่างปลอดภัย มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ
๓.วางแผนและดำเนินการบริหารจัดการด้านวัสดุและของเสียอันตราย, การจัดการกับภาวะฉุกเฉิน และความปลอดภัยจากอัคคีภัย
๔.วางแผนและดำเนินการบริหารจัดการให้โรงพยาบาลเป็นสถานที่ที่ปลอดภัย และเอื้อต่อสุขภาพ เอื้อต่อกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ แ ละพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
                                                ๕.ประสานงานและเชื่อมโยงกับทีมนำด้านต่างๆ
                                                . ติดตามความก้าวหน้าของการพัฒนาคุณภาพ
๗.สรุปผลลัพธ์ และนำเสนอผลงานคุณภาพด้านสิ่งแวดล้อม อาคารสถานที่ความปลอดภัยและสิ่งอุปกรณ์  

๒.๔ คณะกรรมการควบคุมการติดเชื้อ (IC)
                                ๒.๔.   ..หญิงลลิศา                     อังศิริกุล                                 หัวหน้า
๒.๔...หญิงวาสิฎฐี                 พุทธานนท์                           รองหัวหน้า / ICN
๒.๔.๓  ..จักรกฤษณ์                     โมรา                                       กรรมการฯ
                                ๒.๔.๔  ร.อ.หญิงสุรดา                      รัตนวิเศษ                              กรรมการฯ           
๒.๔.๕  ร.ท.หญิงพจนา                     รวยลาภ                                 กรรมการฯ
                                ๒.๔.๖   ..หญิงอภิญญา                อ๊อดทรัพย์                             เลขาฯ                    
                                ๒.๔.๗   ..หญิงกุสุมาวดี                ช่วยชูหนู                               ผช.เลขาฯ             




หน้าที่
๑.วางแผนและดำเนินกิจกรรมพัฒนา เชื่อมโยงงานด้านป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ ทั้งระดับหน่วยงานและระดับโรงพยาบาล
๒.กำหนดเป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ และมาตรการในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อที่เหมาะสมกับขนาดขององค์กร บริการที่จัด และผู้ป่วยที่ให้บริการ.
๓.กำหนดการติดเชื้อที่มีความสำคัญทางระบาดวิทยา รวมทั้งตำแหน่งที่มีการติดเชื้อ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นจุดเน้นของการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
๔.กำหนดระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้ออยู่บนพื้นฐานของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ทันสมัย การปฏิบัติซึ่งเป็นที่ยอมรับ เป็นไปตามข้อกำหนดในกฎหมาย และจัดทำแนวทางปฏิบัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
๕.ประสานกระบวนการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ ซึ่งได้รับการนำไปปฏิบัติโดยบุคลากรทุกคนทั่วทั้งองค์กรอย่างสม่ำเสมอ
๖.จัดให้บุคลากรได้รับการอบรมความรู้อย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับความเสี่ยงของการติดเชื้อ นโยบายขององค์กร และบทบาทของบุคลากรในการป้องกันการติดเชื้อ
๗.ให้ข้อมูลและเสริมพลังแก่ครอบครัว / ชุมชน ถึงวิธีการลดความเสี่ยงในการติดเชื้อและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในครัวเรือน / ชุมชน
๘.วางแผน และกำหนดการปฏิบัติที่เหมาะสมเพื่อการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล.
๙.เฝ้าระวังและติดตามกำกับ เพื่อค้นหาและควบคุมการติดเชื้อ และจัดการกับสถานการณ์ที่มีการระบาดของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
๑๐.สรุปผลลัพธ์และนำเสนอผลงานคุณภาพด้านการควบคุมการติดเชื้อ

๒.๕ คณะกรรมการบริหารยา (PTC)
๒.๕.   ..สุทธิพันธ์                      ขอสุข                                     หัวหน้า
๒.๕...หญิงลลิศา                     อังศิริกุล                                 รองหัวหน้า
๒.๕.๓  พ.อ.ยรรยงค์                          อิ่มสุวรรณ                             กรรมการฯ
๒.๕.๔   พ.ท.หญิงวาสิฎฐี พุทธานนท์                           กรรมการฯ
๒.๕.๕   พ.ต.หญิงประภาพร            โกศัยสุนทร                          กรรมการฯ
๒.๕.๖   พ.ต.หญิงเสาวภา กระจ่างเมฆ                          กรรมการฯ
๒.๕.๗   ร.ต.หญิงนภา                       สถิตศาสตร์                           กรรมการฯ
๒.๕.๘    ร.ท.หญิงพจนา                   รวยลาภ                                 เลขาฯ



หน้าที่
๑. กำหนดนโยบาย วางแผนและดำเนินการควบคุมคุณภาพการบริหารจัดการยาใน โรงพยาบาล

๒.กำหนดระบบการจัดการด้านยาที่ปลอดภัย เหมาะสม และได้ผล พร้อมทั้งการมียาที่มีคุณภาพสูงพร้อมใช้สำหรับผู้ป่วย.

๓.กำหนดมาตรการความปลอดภัยสำหรับยาใหม่ที่มีโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อนสูง รวมทั้งมีแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมในการขอใช้ยาที่อยู่นอกบัญชียาเมื่อจำเป็น
๔.ระบุยาซึ่งมีความเสี่ยงสูงหรือต้องมีความระมัดระวังในการใช้สูง, ออกแบบกระบวนการที่เหมาะสมปลอดภัยในการจัดหา เก็บรักษา สั่งใช้ ถ่ายทอดคำสั่ง จัดเตรียม จ่าย ให้ และติดตามกำกับยา เพื่อลดความเสี่ยงในการใช้ยาเหล่านี้
๕.กำหนดนโยบายการป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาและเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากยา และนำสู่การปฏิบัติ.  มีการตอบสนองอย่างเหมาะสมต่อเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากยาและความคลาดเคลื่อนทางยาที่เกิดขึ้นหรือที่มีโอกาสเกิดขึ้น
๖.ประเมินและปรับปรุงระบบบริหารจัดการด้านยาเปรียบเทียบกับเป้าประสงค์ของระบบ  มีการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติที่ประสบความสำเร็จและเทคโนโลยีใหม่ๆ เกี่ยวกับระบบจัดการด้านยาอย่างสม่ำเสมอ
๗.เก็บสำรองอย่างเหมาะสมและปลอดภัย เพื่อสร้างความมั่นใจว่าจะมียาใช้อย่างเพียงพอ, มีคุณภาพและความคงตัว, พร้อมใช้, ป้องกันการเข้าถึงโดยผู้ไม่มีอำนาจหน้าที่, ป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาและผลไม่พึงประสงค์จากยา
๘.วางแผนและกำหนดให้มีการสั่งใช้ยาและการให้ยาที่ปลอดภัย ถูกต้องเหมาะสม
๙.สนับสนุนและติดตามความก้าวหน้าในการพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัย
ด้านระบบยา
๑๐. สรุปผลลัพธ์และนำเสนอผลงานคุณภาพด้านการบริหารยา

                ๒.๖ คณะกรรมการจัดการสารสนเทศ  (IM)
                                ๒.๖.  พ.อ.ณัฐนนท์                         ภุคุกะ                                     หัวหน้า
๒.๖. พ.ท.หญิงพรพิมล เปานิล                                    รองหัวหน้า
                                ๒.๖.  พ.ต.หญิงประภาพร            โกศัยสุนทร                          กรรมการ
                                ๒.๖.  พ.ต.หญิงสมลักษณ์             ปรุงปรีชา                              กรรมการ
๒.๖.  ..หญิงจิราภรณ์                วีรศักดิ์สกุล                           กรรมการฯ
                ๒.๖.   ร.ท.หญิงอภิญญา                อ๊อดทรัพย์                             กรรมการ
                                ๒.๖. ร.ท.หญิงกุสุมาวดี ช่วยชูหนู                               กรรมการ
                                ๒.๖.๘   พ.ต.หญิงมัลลิกา                  นานาศิลป์                             เลขาฯ
หน้าที่
๑. กำหนดนโยบายและมาตรฐานด้านการจัดการสารสนเทศของ รพ.รร.จปร.
๒. กำหนดนโยบายและมาตรฐานด้านเวชระเบียน และจัดการเกี่ยวกับเวชระเบียน
ในเรื่องการบันทึก การเก็บรักษา การสื่อสารข้อมูล ละส่งเสริมการใช้เวช   ระเบียนให้เกิดประโยชน์สูงสุด
. วางแผน และออกแบบระบบสารสนเทศที่เหมาะสม และตอบสนองต่อความ
ต้องการของผู้ใช้
๔. เชื่อมโยงข้อมูล และสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหาร การดูแลผู้ป่วย และการ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
๕. จัดระบบบริการเวชระเบียน เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ป่วย และผู้ให้บริการ เพื่อให้เกิดการสื่อสารที่ดีระหว่างทีมงานผู้ให้บริการ เกิดความต่อเนื่องในการดูแลรักษา และสามารถประเมินคุณภาพการดูแลรักษาได้
๖. สรุปผลลัพธ์ และนำเสนอผลงานคุณภาพด้านการจัดการสารสนเทศ

                ๒.๗ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและข้อร้องเรียน (RMC)
๒.๗.  ..สุทธิพันธ์                        ขอสุข                     หัวหน้า                            
๒.๗.๒ พ..ยรรยงค์                           อิ่มสุวรรณ             รองหัวหน้า                    
๒.๗.๓ พ..หญิงทวีพร                     พุดทะเล                                กรรมการฯ(ควบคุมภายในฯ)
๒.๗.๔ พ..หญิงประภาพร              โกศัยสุนทร          กรรมการฯ
๒.๗.๕ ร..หญิงจิราภรณ์ วีรศักดิ์สกุล           กรรมการฯ
๒.๗.๖ เลขาทีมนำเฉพาะด้านทุกทีม                               กรรมการฯ
๒.๗.๗ หน.หน่วยงานทุกหน่วย                                      กรรมการฯ
๒.๗.๘ พ..หญิงสมลักษณ์               ปรุงปรีชา              เลขาฯ
๒.๗.๙ ร.อ.หญิงณฐมล                      ธงหาร                   ผช.เลขาฯ ๑
๒.๗.๑๐ ร.ต.หญิงช่อทิพย์ เลิศธำรงศักดิ์        ผช.เลขาฯ ๒
หน้าที่
. วางแผนระบบ และบริหารจัดการความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ ของโรงพยาบาลที่มีประสิทธิผล และประสานสอดคล้องกัน รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยในลักษณะบูรณาการ
๒. ค้นหา และวิเคราะห์ความเสี่ยงทางคลินิก และความเสี่ยงทั่วไป ในทุกหน่วยงาน และทุกระดับ จัดลำดับความสำคัญ เพื่อกำหนดเป้าหมายความปลอดภัย และมาตรการป้องกัน รวมทั้งสื่อสารและสร้างความตระหนักในองค์กรอย่างทั่วถึง
๓. กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรการป้องกันความเสี่ยงอย่างเหมาะสม
๔. จัดทำระบบรายงานอุบัติการณ์ และเหตุการณ์เกือบพลาดที่เหมาะสม มีการวิเคราะห์ข้อมูล และนำข้อมูลไปใช้เพื่อการประเมินผล ปรับปรุง เรียนรู้ และวางแผนอย่างเหมาะสม
๕. วิเคราะห์สาเหตุที่แท้จริง(Root Cause) เพื่อค้นหาปัจจัยเชิงระบบ และนำไปสู่การแก้ปัญหาที่เหมาะสม
๖. ประเมินประสิทธิผลของระบบบริหารความเสี่ยง และความปลอดภัยอย่างสม่ำเสมอ นำไปสู่การปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น
๗. ทบทวนการให้บริการ และการดูแลผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ เพื่อประเมินคุณภาพ และประสิทธิภาพของการดูแล และค้นหาโอกาสพัฒนา
. ดำเนินการเกี่ยวกับอุบัติการณ์  และข้อร้องเรียน.oFi’rpk[k]
. ส่งเสริมองค์กรให้มีการเฝ้าระวังความเสี่ยง
๑๐.สรุปผลลัพธ์และนำเสนอผลงานคุณภาพด้านการบริหารความเสี่ยง และข้อร้องเรียน

                ๒.๘ คณะกรรมการองค์กรแพทย์ (MDO)
                                ๒.๘.๑ พ..ธนา                                   สุรารักษ์                                 ที่ปรึกษา                                                                                ๒.๘.๒ พ..ณัฐนนท์                         ภุคุกะ                                     หัวหน้า                                                                                  ๒.๘.๓ พ..ภคเดชน์                                มหัจฉริยวงศ์                         รองหัวหน้า
๒.๘.๔ พ..หญิงพรชนก                  สัตตพงศ์                               กรรมการฯ
๒.๘.๕ พ.อ.อุดมพงศ์                         อติเวทิน                                 กรรมการฯ
                                ๒.๘.๖ พ.ต.สุทธิพันธ์                        ขอสุข                                     กรรมการฯ
๒.๘.๗ พ..หญิงลลิศา                      อังศิริกุล                                 กรรมการฯ
๒.๘.๘ ร..หญิงนภา                         สถิตศาสตร์                           กรรมการฯ
๒.๘.๙ พ..ยรรยงค์                            อิ่มสุวรรณ                             เลขาฯ
หน้าที่
                                                ๑.จัดทำแผนงาน ที่สอดคล้องตามนโยบายและแผนยุทธศาสตร์
๒.กระตุ้นและส่งเสริมให้บริการทางการแพทย์ให้มีคุณภาพ ด้วยความรับผิดชอบแห่งวิชาชีพ.
๓.ให้คำปรึกษา ข้อเสนอแนะและร่วมวางแผนกับผู้บริหารเกี่ยวกับการจัดบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่มีคุณภาพสูง
๔.กำกับการให้บริการทางการแพทย์ให้อยู่บนพื้นฐานของการใช้หลักฐานทางวิทยาศาสตร์และมาตรฐานวิชาชีพ มีการติดตามกำกับและการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เคารพในสิทธิผู้ป่วยและเป็นไปตามจริยธรรมวิชาชีพ.
๕.วิเคราะห์ประเด็นคุณภาพเพื่อประสานเชื่อมโยงกับงานด้านต่าง ๆ ส่งเสริมการติดต่อสื่อสารและการแก้ปัญหาภายในวิชาชีพแพทย์ กับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
๖.ตรวจสอบและประเมินคุณสมบัติของแพทย์
๗.กำหนดสิทธิการดูแลรักษาผู้ป่วยของแพทย์แต่ละคน เพื่อเป็นหลักประกันว่าแพทย์ปฏิบัติงานที่ตนเองมีความชำนาญ
๘.กำกับดูแลมาตรฐานและจริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพ
๙.กำกับดูแลการทบทวนและพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย
๑๐.กำกับดูแลคุณภาพเวชระเบียน
๑๑.ส่งเสริมการตัดสินใจทางคลินิกและการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
๑๒.กำหนดหรือรับรองนโยบายที่เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วย
๑๓.ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของแพทย์ที่อยู่ระหว่างการฝึกอบรม  และแพทย์เวรที่ไม่ใช่แพทย์ประจำ
๑๔.ประสานความร่วมมือกับคณะกรรมการระดับองค์กรที่เกี่ยวกับการใช้ยา การควบคุมการติดเชื้อ การสร้างเสริมสุขภาพ คุณภาพและความปลอดภัย
๑๕.จัดทำ และควบคุมแนวทางปฏิบัติในการทำงานของแพทย์ที่ทุกคนยึดถือและนำไปปฏิบัติ ครอบคลุมเรื่องของการประกอบวิชาชีพเวชกรรม, ประเด็นทางจริยธรรม / กฎหมาย / สังคม, คุณภาพและความปลอดภัย, การพัฒนาความรู้ความสามารถ, บันทึกและการจัดทำเอกสาร.
๑๖.สรุปผลลัพธ์และนำเสนอผลงานคุณภาพด้านการบริหารจัดการองค์กรแพทย์
๒.๙ องค์กรพยาบาล  (NUR)
                                ๒.๙.    ..หญิงกนกพร                ศรีพิทักษ์                               หัวหน้า                 
๒.๙.  ..หญิงนันทรัตน์            สุภาพคำ                                รองหัวหน้า
                                ๒.๙.  ..หญิงพรพิมล                เปานิล                                    กรรมการฯ
                                ๒.๙.   ..หญิงพรรณพิไล           สาระผล                                 กรรมการฯ
๒.๙.  ..หญิงวาสิฎฐี  พุทธานนท์                           กรรมการฯ
๒.๙.    ..หญิงอุไรวรรณ            สุรารักษ์                                 กรรมการฯ
๒.๙.   ..หญิงรุ่งอรุณ                วัฒยากร                                 กรรมการฯ
                                ๒.๙.   ..หญิงประภาพร           โกศัยสุนทร                          กรรมการฯ
                                ๒.๙.    ..หญิงกาญจนา              สุขสำราญ                             กรรมการฯ
                                ๒.๙.๑๐ พ..หญิงเสาวภา                  กระจ่างเมฆ                          กรรมการฯ
๒.๙.๑๑ พ..หญิงมัลลิกา                   นานาศิลป์                             กรรมการฯ
                                ๒.๙.๑๒ ร..หญิงสุรดา                     เสาวพันธ์                              กรรมการฯ           
๒.๙.๑๓ ร..หญิงวิกานดา                ทองงาม                                 กรรมการฯ
๒.๙.๑๔ ร..หญิงจิราภรณ์               วีรศักดิ์สกุล                           กรรมการฯ
                                ๒.๙.๑๕ ร..หญิงอภิญญา                อ๊อดทรัพย์                             กรรมการฯ           
                                ๒.๙.๑๖ ร..หญิงกนกพร เทศนา                                    กรรมการฯ
๒.๙.๑๗ ร.ต.หญิงช่อทิพย์ เลิศธำรงศักดิ์                        กรรมการฯ
๒.๙.๑๘ พ..หญิงทวีพร                   พุดทะเล                                                เลขาฯ ๑
๒.๙.๑๙ พ..หญิงกรกมล                  สีขาว                                      เลขาฯ ๒                               
๒.๙.๒๐ ร..หญิงกุสุมาวดี               ช่วยชูหนู                               ผช.เลขาฯ
                                หน้าที่
                                                ๑.จัดทำแผนงานการพยาบาล ที่สอดคล้องตามนโยบายและแผนยุทธศาสตร์
                                                ๒.กระตุ้นและส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ
๔.บริหารการพยาบาลโดยมีบุคลากรทางการพยาบาลที่มีความรู้ความสามารถ และปริมาณเพียงพอ
๕.กำกับดูแลมาตรฐานและจริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพ
๖.นิเทศ กำกับดูแล และส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย
๗.ส่งเสริมการใช้กระบวนการพยาบาล
๘.ส่งเสริมการตัดสินใจทางคลินิกและการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
๙.ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการพยาบาลที่อยู่ระหว่างการฝึกอบรม
๑๐.จัดการความรู้และการวิจัยเพื่อส่งเสริมการพัฒนาวิชาชีพ
๑๑.ประสานความร่วมมือกับคณะกรรมการระดับองค์กรที่เกี่ยวกับการใช้ยา การควบคุมการติดเชื้อ การสร้างเสริมสุขภาพ คุณภาพและความปลอดภัย
๑๒.บริหารความเสี่ยง การบริหารความปลอดภัย และการบริหารคุณภาพของปฏิบัติการพยาบาลสอดคล้องและสนับสนุนเป้าหมาย / วัตถุประสงค์ขององค์กร และมาตรฐานจริยธรรมวิชาชีพ
๑๓.ประเมินการบรรลุเป้าหมายของปฏิบัติการพยาบาลในองค์ประกอบด้านความปลอดภัยของผู้ป่วย การบรรเทาจากความทุกข์ทรมาน การได้รับข้อมูลและการเรียนรู้ของผู้รับบริการ ความสามารถในการดูแลตนเอง การเสริมพลัง ความพึงพอใจ และนำผลการประเมินไปใช้ปรับปรุงปฏิบัติการพยาบาล
๑๔.ใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลบุคคล ครอบครัว และชุมชน เพื่อให้บริการที่มีคุณภาพสูง เบ็ดเสร็จผสมผสาน และเป็นองค์รวม โดยมีการประสานความร่วมมือกับวิชาชีพอื่น
๑๕.ส่งเสริมการบันทึกทางการพยาบาลที่แสดงถึงการพยาบาลผู้รับบริการแบบองค์รวม ต่อเนื่อง และเป็นประโยชน์ในการสื่อสาร การดูแลต่อเนื่อง การประเมินคุณภาพการพยาบาล และการวิจัย
๑๖.สรุปผลลัพธ์และนำเสนอผลงานคุณภาพด้านการบริหารจัดการองค์กรพยาบาล


๒.๑๐. คณะกรรมการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน รพ.รร.จปร. (COM)
                                ๒.๑๐.๑  ..ณัฐนนท์                        ภุคุกะ                                     หัวหน้า                 
๒.๑๐.๒ พ.ท.หญิงกนกพร                ศรีพิทักษ์                               รองหัวหน้า         
๒.๑๐.๓ พ..ภคเดชน์                        มหัจฉริยวงค์                         กรรมการฯ
๒.๑๐. พ.ท.พรชัย                            มาลัยพวง                              กรรมการฯ           
๒.๑๐.๕ พ..หญิงพรรณพิไล          สาระผล                                 กรรมการฯ           
                                ๒.๑๐.๖ พ..หญิงนันทรัตน์             สุภาพคำ                                กรรมการฯ                                                                            ๒.๑๐.๗ พ..หญิงกรกมล  สีขาว                                      กรรมการฯ                                                                            ๒.๑๐.๘ พ..หญิงกาญจนา                สุขสำราญ                             กรรมการฯ                                                                           ๒.๑๐.๙ ร.อ.หญิงวิกานดา ทองงาม                                 กรรมการฯ                                                                           ๒.๑๐.๑๐ ร.อ.วิชัย                                อินศิริ                                     เลขาฯ
หน้าที่
๑. ร่วมมือกับชุมชน จัดให้มีบริการสร้างเสริมสุขภาพที่สนองตอบต่อความต้องการของชุมชนที่รับผิดชอบ
๒. ทำงานร่วมกับชุมชนเพื่อสนับสนุนการพัฒนาความสามารถของชุมชนในการปรับปรุงสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของชุมชน.
๓. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการสร้างเครือข่ายของชุมชน รวมทั้งการเป็นคู่พันธมิตร ที่เข้มแข็งกับชุมชน
.
๔. ร่วมมือกับชุมชน ส่งเสริมพฤติกรรมและทักษะสุขภาพส่วนบุคคล (รวมถึงความรู้ เจตคติ ความเชื่อ ค่านิยม) ซึ่งมีความสำคัญต่อสุขภาพของแต่ละคน.
๕. สรุปผลลัพธ์และนำเสนอผลงานคุณภาพด้านการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน
. คณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพ รพ.รร.จปร. (QIC : Quality Improvement Center)
                                ๓.๑ พ.อ.ธนา                                        สุรารักษ์                                                 ที่ปรึกษา
๓.๒  ..ยรรยงค์                               อิ่มสุวรรณ                                             ประธานศูนย์ฯ    
๓.๓ พ..อุดมพงศ์                              อติเวทิน                                                 รองประธานฯ
.๔ พ..หญิงหญิงกนกพร             ศรีพิทักษ์                                               กรรมการฯ
.๕ พ..สุทธิพันธ์                             ขอสุข                                                     กรรมการฯ           
.๖ พ..หญิงวาสิฎฐี                         พุทธานนท์                                           กรรมการฯ           
๓.๗ พ..หญิงรุ่งอรุณ                        วัฒยากร                                                 เลขาฯ
                                หน้าที่
๑. ประสานงานกับสถาบันพัฒนาคุณภาพ และหน่วยงานด้านคุณภาพนอก รพ.
๒. ประสานงานด้านคุณภาพกับทุกหน่วยงานและทีมคร่อมสายงาน          

๓. ร่วมกับทีมประสานงานคุณภาพ กระตุ้น ติดตาม การประเมินผล บันทึกข้อมูลการ
พัฒนาคุณภาพจากทุกหน่วยงาน
                ๔. จัดทำสรุปเอกสารและวิเคราะห์ ข้อมูล นำเสนอที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร
                ๕. รายงานความก้าวหน้าของกิจกรรมพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
 ทั้งนี้   ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
                                                                                           
                             สั่ง      วันที่         พฤศจิกายน  ..  ๒๕๕๓

                                                                                                                                 ..
                                                                                                                             (ธนา        สุรารักษ์)
                                                                                                                                 ผอ.รพ.รร.จปร.